รายงานข่าวจากประเทศนอร์เวย์ เมื่อสันอังคารที่ผ่านมาระบุว่า มีการค้นพบซากสัตว์ทะเลขนาดใหญ่มหึมา ฝังอยู่บนผืนเกาะอาร์กติก ซึ่งซากที่พบนั้นคาดว่าเป็นซากของสัตว์ประหลาด เนื่องจากไม่มีใครเคยพบเจอและมีการบันทึกข้อมูลของสัตว์ลักษณะนี้อยู่ โดยจากซากที่พบนั้นทำให้ประมาณกาลได้ว่าสัตว์ชนิดนี้มีชีวิตอยู่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ และมีขนาดใหญ่มากเทียบเท่ากับขนาดรถบัสหรือรถโดยสารเลยที่เดียวโดยชิ้นส่วนที่พบนั้น
มีทั้งส่วนกะโหลกศรีษะ ส่วนของแขนขาและปีก ส่วนของกระดูกสันหลัง และชิ้นส่วนกระดูกฟัน ซึ่งขนาด ของแต่ละชิ้นส่วนที่ค้นพบนั้นมีขนาดใหญ่มาก และทำให้วิเคราะห์ได้ว่าสัตว์ชนิดนี้เป็นสัตว์จำพวกสัตว์เลื้อยคลานที่มีขนาดใหญ่มหึมาหรือสัตว์ประหลาดขนาดยักษ์ และดำรงชีวิตในทะเลในสมัยก่อนยุคประวัติศาสตร์ หรือประมาณเมื่อ 150 ล้านปีก่อนซึ่งทางทีมที่ทำการศึกษาซากที่ค้นพบนั้นได้อธิบายว่า สัตว์ชนิดนี้ถือเป็นสัตว์เลื้อยคลานสายพันธุ์หนึ่งที่มีลักษณะความยาวของคอค่อนข้างสั้น และฟันของมันมีขนาดใหญ่และยาวกว่าแตงกวา
ซึ่งทำให้ระบุขนาดของมันได้ว่าร่างกายที่สมบูรณ์ของมันขณะมีชีวิตอยู่ก็จะยาวมากกว่า 30 ฟุต เทียบเท่ากับขนาดรถบัสเลยทีเดียวถือได้ว่าเจ้าสัตว์ประหลาดตัวนี้เปรียบแหมือนไดโนเสาร์พันธุ์ทีเร๊กซ์แห่งท้องทะเลอันแสนน่ากลัวและดุร้ายซึ่งซากที่พบนี้เป็นการค้นพบครั้งสำคัญของนักโบราณคดีชาวนอร์เวย์ โดยได้ค้นพบซากสัตว์ประหลาดดึกดำบรรพ์ชนิดใหม่แถวบริเวณเกาะอาร์กติก
มีทั้งส่วนกะโหลกศรีษะ ส่วนของแขนขาและปีก ส่วนของกระดูกสันหลัง และชิ้นส่วนกระดูกฟัน ซึ่งขนาด ของแต่ละชิ้นส่วนที่ค้นพบนั้นมีขนาดใหญ่มาก และทำให้วิเคราะห์ได้ว่าสัตว์ชนิดนี้เป็นสัตว์จำพวกสัตว์เลื้อยคลานที่มีขนาดใหญ่มหึมาหรือสัตว์ประหลาดขนาดยักษ์ และดำรงชีวิตในทะเลในสมัยก่อนยุคประวัติศาสตร์ หรือประมาณเมื่อ 150 ล้านปีก่อนซึ่งทางทีมที่ทำการศึกษาซากที่ค้นพบนั้นได้อธิบายว่า สัตว์ชนิดนี้ถือเป็นสัตว์เลื้อยคลานสายพันธุ์หนึ่งที่มีลักษณะความยาวของคอค่อนข้างสั้น และฟันของมันมีขนาดใหญ่และยาวกว่าแตงกวา
ซึ่งทำให้ระบุขนาดของมันได้ว่าร่างกายที่สมบูรณ์ของมันขณะมีชีวิตอยู่ก็จะยาวมากกว่า 30 ฟุต เทียบเท่ากับขนาดรถบัสเลยทีเดียวถือได้ว่าเจ้าสัตว์ประหลาดตัวนี้เปรียบแหมือนไดโนเสาร์พันธุ์ทีเร๊กซ์แห่งท้องทะเลอันแสนน่ากลัวและดุร้ายซึ่งซากที่พบนี้เป็นการค้นพบครั้งสำคัญของนักโบราณคดีชาวนอร์เวย์ โดยได้ค้นพบซากสัตว์ประหลาดดึกดำบรรพ์ชนิดใหม่แถวบริเวณเกาะอาร์กติก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น